6 ขั้นตอนสู่การ Improvise แบบ Jazz
ทุกแนวดนตรีมีความยากที่แตกต่างกันไป อยากเก่งแนวไหนก็ต้องฝึกและทำความเข้าใจกับแนวนั้นให้มากๆ
วันนี้ ProPlugin มีเทคนิคเล็กๆน้อยๆสำหรับการอิมโพรไวส์แบบ Jazz มาฝากกัน
การอิมโพรไวส์ เป็นการคิดโซโล่แบบฉับพลัน หรือด้นสดโดยที่มีเสียงที่ได้ยินในหัว หรือมี Lick ที่นำมาใช้ โดยปกติติแล้วการอิมโพรไวส์นั้นควรจะทำความเข้าใจ หรือได้ยินทางเดินคอร์ดก่อนที่จะคิดโซโล่ให้มีความสอดคล้องกับทางเดินคอร์ด (ยกเว้นดนตรีแนว Free Jazz)
ซึ่งในดนตรีแนว Jazz นั้นก็มีการอิมโพรไวส์ที่เรียกได้ว่าเป็นจุดที่สร้างความน่าสนใจให้กับดนตรีแนวนี้เป็นอย่างมาก (ความจริงแล้วการอิมโพรไวส์ไม่ได้จำกัดแนว) ทั้งภาษาของแนวดนตรี จังหวะของเพลงนั้นก็มีความลงตัวไปหมด
6 ขั้นตอนการฝึก Improvise
ProPlugin ได้รวบรวม 6 ขั้นตอนการฝึก Improvise Jazz แบบง่ายๆ ไว้ดังนี้
4. แกะ Transcription ของศิลปิน แล้ววิเคราะห์การเล่น
การแกะ Transcription ของศิลปินจะเป็นเหมือนการฝึกฟัง และพูดภาษาของคุณ ซึ่งจช่วยให้คุณเข้าใจสำเนียงมากขึ้น และที่สำคัญเมื่อคุณวิเคราะห์การเล่นของศิลปินนั้น มันจะช่วยให้คุณได้รู้ที่มาที่ไปของการอิมโพรไวส์มากขึ้น
5. ฝึกแต่ง Solo จากทุกอย่างที่ศึกษามา
เมื่อคุณศึกษามาประมาณหนึ่งแล้ว ก็เอาสิ่งที่ศึกษาามาลองฝึกสร้างโซโล่ และพัฒนาเป็นการอิมโพรไวส์ในอนาคต
6. นำมาทดลองใช้จริง
การนำมาทดลองใช้จริงนั้น แรกๆอาจจะดูไม่เป็นร่องเป็นรอย แต่พอคุณทดลองไปประมาณหนึ่งมันจะทำให้คุณจับทาง และเล่นได้อย่างราบรื่นขึ้น
1. ศึกษาทฤษฎีดนตรี
ไม่ว่าจะเป็นพื้นฐานของคอร์ด, สเกล, Mode, ทฤษฎีดนตรี Jazz หรือแนวคิดในการสร้างการอิมโพรไวส์ ซึ่งบอกเลยว่าคุณควรหาหนังสือ หรือไปหาดูใน Youtube เพื่อศึกษาให้เข้าใจได้เลย
2. ฟังเพลง Jazz เยอะๆ
การฝึกอิมโพรไวส์ก็เหมือนการฝึกพูดภาษา หากคุณไม่ฝึกฟังคุณก็จะไม่เข้าใจสำเนียงหรือการออกเสียงเลย
3. แกะเพลงพร้อมศึกษาทางเดินคอร์ด
การศึกษาทฤษฎีคงไม่ช่วยให้คุณอิมโพรไวส์ได้ หากคุณไม่แกะเพลงแล้วศึกษา และวิเคราะห์เพลง หรือแนวคิดที่ศิลปิน Jazz ใช้อิมโพรไวส์ ซึ่งการที่คุณมีความรู้พื้นฐานที่ดีแล้ว คุณก็จะเข้าใจเพลง และคุณจะรู้ว่าคุณจะใช้แนวคิดอะไรในการอิมโพรไวส์
4. แกะ Transcription ของศิลปิน แล้ววิเคราะห์การเล่น
การแกะ Transcription ของศิลปินจะเป็นเหมือนการฝึกฟัง และพูดภาษาของคุณ ซึ่งจช่วยให้คุณเข้าใจสำเนียงมากขึ้น และที่สำคัญเมื่อคุณวิเคราะห์การเล่นของศิลปินนั้น มันจะช่วยให้คุณได้รู้ที่มาที่ไปของการอิมโพรไวส์มากขึ้น
5. ฝึกแต่ง Solo จากทุกอย่างที่ศึกษามา
เมื่อคุณศึกษามาประมาณหนึ่งแล้ว ก็เอาสิ่งที่ศึกษาามาลองฝึกสร้างโซโล่ และพัฒนาเป็นการอิมโพรไวส์ในอนาคต
6. นำมาทดลองใช้จริง
การนำมาทดลองใช้จริงนั้น แรกๆอาจจะดูไม่เป็นร่องเป็นรอย แต่พอคุณทดลองไปประมาณหนึ่งมันจะทำให้คุณจับทาง และเล่นได้อย่างราบรื่นขึ้น
4. แกะ Transcription ของศิลปิน แล้ววิเคราะห์การเล่น
การแกะ Transcription ของศิลปินจะเป็นเหมือนการฝึกฟัง และพูดภาษาของคุณ ซึ่งจช่วยให้คุณเข้าใจสำเนียงมากขึ้น และที่สำคัญเมื่อคุณวิเคราะห์การเล่นของศิลปินนั้น มันจะช่วยให้คุณได้รู้ที่มาที่ไปของการอิมโพรไวส์มากขึ้น
5. ฝึกแต่ง Solo จากทุกอย่างที่ศึกษามา
เมื่อคุณศึกษามาประมาณหนึ่งแล้ว ก็เอาสิ่งที่ศึกษาามาลองฝึกสร้างโซโล่ และพัฒนาเป็นการอิมโพรไวส์ในอนาคต
6. นำมาทดลองใช้จริง
การนำมาทดลองใช้จริงนั้น แรกๆอาจจะดูไม่เป็นร่องเป็นรอย แต่พอคุณทดลองไปประมาณหนึ่งมันจะทำให้คุณจับทาง และเล่นได้อย่างราบรื่นขึ้น
1. ศึกษาทฤษฎีดนตรี
ไม่ว่าจะเป็นพื้นฐานของคอร์ด, สเกล, Mode, ทฤษฎีดนตรี Jazz หรือแนวคิดในการสร้างการอิมโพรไวส์ ซึ่งบอกเลยว่าคุณควรหาหนังสือ หรือไปหาดูใน Youtube เพื่อศึกษาให้เข้าใจได้เลย
2. ฟังเพลง Jazz เยอะๆ
การฝึกอิมโพรไวส์ก็เหมือนการฝึกพูดภาษา หากคุณไม่ฝึกฟังคุณก็จะไม่เข้าใจสำเนียงหรือการออกเสียงเลย
3. แกะเพลงพร้อมศึกษาทางเดินคอร์ด
การศึกษาทฤษฎีคงไม่ช่วยให้คุณอิมโพรไวส์ได้ หากคุณไม่แกะเพลงแล้วศึกษา และวิเคราะห์เพลง หรือแนวคิดที่ศิลปิน Jazz ใช้อิมโพรไวส์ ซึ่งการที่คุณมีความรู้พื้นฐานที่ดีแล้ว คุณก็จะเข้าใจเพลง และคุณจะรู้ว่าคุณจะใช้แนวคิดอะไรในการอิมโพรไวส์
4. แกะ Transcription ของศิลปิน แล้ววิเคราะห์การเล่น
การแกะ Transcription ของศิลปินจะเป็นเหมือนการฝึกฟัง และพูดภาษาของคุณ ซึ่งจช่วยให้คุณเข้าใจสำเนียงมากขึ้น และที่สำคัญเมื่อคุณวิเคราะห์การเล่นของศิลปินนั้น มันจะช่วยให้คุณได้รู้ที่มาที่ไปของการอิมโพรไวส์มากขึ้น
5. ฝึกแต่ง Solo จากทุกอย่างที่ศึกษามา
เมื่อคุณศึกษามาประมาณหนึ่งแล้ว ก็เอาสิ่งที่ศึกษาามาลองฝึกสร้างโซโล่ และพัฒนาเป็นการอิมโพรไวส์ในอนาคต
6. นำมาทดลองใช้จริง
การนำมาทดลองใช้จริงนั้น แรกๆอาจจะดูไม่เป็นร่องเป็นรอย แต่พอคุณทดลองไปประมาณหนึ่งมันจะทำให้คุณจับทาง และเล่นได้อย่างราบรื่นขึ้น